“Mellow Art Award”, which is aiming to discover the artworks, with touches of Asia and brings a relaxed and inspirational experience for people away from their busy lives.
บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ชิ้นงาน และนิทรรศการ The Collector 0.01% โดย ปัญจพล นาน่วม ที่ Cartel Artspace ในช่วงเวลา 6-21 ก.ค. ตัวเนื้อหาเป็นมุมมองประเด็นต่างๆ และศิลปะการใช้สื่อทางกายภาพเพื่อขับเน้นความเป็นศิลปะให้เกิดขึ้่นอย่างมีประสิทธิภาพ Keywords: ความเป็นศิลปิน, กรอบ, ขนาด, การสะสม, performativity
“ ผู้ ที่ เ เ ข็ ง เ เ ก ร่ ง ที่ สุ ด คื อ ผู้ อ ยู่ ร อ ด ” จะกล่าวว่ามันคือกฎของธรรมชาติที่สิ่งมีชีวิตหลายสิ่งไม่อาจเลี่ยงได้ ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ หรือ สัตว์ เป็นข้อจำกัดถึงการแบ่งชนชั้น และความเท่าเทียม นั่นแปลว่าผู้ที่อ่อนแอต้องอยู่ภายใต้อำนาจเพื่อความอยู่รอด กฎนี้อาจลืมเขียนไปว่า ผู้ที่แข็งแกร่ง จากภายใน คือผู้อยู่รอด ผู้ที่อ่อนแอแต่มีความอดทนก็จะมีชีวิตอยู่รอดเช่นกัน ความเสมอภาคนี้เป็นบรรทัดชี้ว่าสิ่งมีชีวิตควรมีความเท่าเทียม เกื้อกูลซึ่งกันและกัน โลกใบนี้ไม่ใช่ที่ของผู้ที่แข็งแกร่งที่สุด เรื่องของความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสังคม เป็นเหตุผลที่ทำให้ผู้ที่แข็งแกร่งนำกฎ และอำนาจ มาใช้เพื่อประโยชน์ของตน การถูกลดค่าความเท่าเทียมของสิ่งมีชีวิต ล้วนเกิดจากอำนาจ และความต้องการของผู้ที่แข็งแกร่งเสมอ สันติภาพ อินกองงาม ศิลปินผู้มองเห็นถึงความเหลื่อมล้ำของสังคมคนเมืองกับประชากรชายขอบ ได้จัดแสดงนิทรรศการ Zomia’s Pieces ที่ Gallery Seescape เขาได้หยิบภาพลักษณ์ของกลุ่มคนเหล่านี้แสดงออกผ่านงานภาพถ่าย และภาพยนตร์สารคดี ผ่านสัญลักษณ์บุคคล แทนชนเผ่าประชากรชายขอบต่างกันไป โดยยกมาทั้งหมด ๖ เผ่า คือ ไทใหญ่ ดาราอั้ง ม้ง อาข่า ปกาเกอะญอ และ ลาหู่ แสดงออกถึงอารยะ และคุณค่าที่ของกลุ่มคนเหล่านี้ ผลงานชุด Zomia’s Pieces บอกเล่าเรื่องราวความเท่าเทียมในการเป็นมนุษย์ มีชีวิตมีลมหายใจที่เท่ากัน ใช้ชีวิตดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดบนโลกไม่ต่างกัน แตกต่างกันเพียงเชื้อชาติ ถิ่นกำเนิด การที่คนเหล่านี้ถูกกำหนดชาติพันธ์ จากรัฐ จากผู้แสวงหากำไรจากปัจจัยในพื้นที่ หรือ แม้กระทั่งประชากรในประเทศ กลุ่มคนชายขอบถูกตีกรอบว่าไร้เชื้อชาติ ถูกดูแคลนจากพื้นฐานมนุษย์ผ่านสายตาสังคมเมือง ด้วยวัฒนธรรมที่ไม่ต่างกันมากนักของกลุ่มชาติพันธ์ อารยะที่กลุ่มคนเหล่านี้ถ่ายทอดออกมา ทำให้รู้สึกว่า มวลมนุษย์มาจากพื้นฐานเดียวกัน มาจากพื้นที่เดียวกัน มีความเป็นมนุษย์เท่าๆ กัน แต่กลับถูกกลุ่มคนที่มีพื้นฐานสังคมเมืองเหยียดและให้ค่ากับคนเหล่านี้ที่ต่ำลง ผลงานภาพถ่ายกรอบไม้สักของศิลปินถ่ายทอดเรื่องราวของภาพได้อย่างลงตัว มีสีที่มองดูสบายตา มองเห็นธรรมชาติได้อย่างดงาม บุคคลสัญลักษณ์ที่เป็นแบบ ถ่ายทอดบุคลิกภาพออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ แสดงออกถึงความอิสระ และความเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ โดยพื้นฐานของมนุษย์ย่อมเกี่ยวข้องกับธรรมชาตินับตั้งแต่อดีต ผลงานภาพวีดีทัศน์มองผ่านกรอบไม้สัก ได้แสดงออกถึงความเป็นมา ความหมายของมนุษย์ในอารยะของแต่ละชนเผ่า ได้อย่างเข้าใจง่ายและชัดเจน การใช้สีที่ดูอึมครึมแสดงถึงความบอบช้ำ และปวดร้าวจากการดูถูกดูแคลนผ่านสัญลักษณ์บุคคลได้อย่างแยบยล การดำเนินเรื่องถูกเรียบเรียงมาอย่างดี ผ่านธรรมชาติของกลุ่มคนเหล่านั้น ท้ายที่สุดแล้ว ความเสมอภาคในความจริงของมนุษย์ ยังดูเลือนราง หากแต่วันใดวันหนึ่งโลกเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ พื้นที่ที่เคยยืนอยู่ เราอาจถูกเหยียบย่ำความเป็นมนุษย์จากมวลมนุษย์ต่างชาติ ไม่ต่างกับกลุ่มคนชายขอบเหล่านี้เลย อำนาจที่โตขึ้นทุกวัน และปัจจัยที่ลดลงเรื่อยๆ มันอาจเปลี่ยนหัวใจให้คนเห็นแก่ตัวขึ้น หากในวันนี้เรายังเห็นคนที่ด้อยกว่าคือตัวประหลาด ตัวเราเองก็เป็นตัวประหลาดไม่ต่างจากสายตาพวกเขาเลย ~ ถั่ว #บ่นเฉยๆอ่านผ่านๆไปก็ได้
Do you know ' Dream Space Gallery CNX ' ?
Since 1923 the Thai monarchy has been the key driver in the development of the arts. The intrinsic and extrinsic value of art in Thailand has a long history of being intertwined within political and cultural apparatuses. As the country combined liberal economics with authoritarian regime, an ambiguity is born from the tension in between. Due to the religious dominance of Buddhism in Thailand, combined with the consideration that the founder of the first Fine Arts Department in Thailand is an Italian sculptor: Thai art may be seen as a product of Western ideology and Buddhist self-consciousness. The contemporary art of Thailand has developed its own unique language: meditative, poetic with a subversive undercurrent and phenomenological sensibility. Thai Contemporary artists exemplify Jacques Rancière’s definition of politics: “Politics, indeed, is not the exercise of, or struggle for, power. It is the configuration of a specific space, the framing of a particular sphere of experience, of objects posited as common and as pertaining to a common decision, of subjects recognized as capable of designating these objects and putting forward arguments about them.” The reason I have chosen the following three Thai contemporary artists is not only due to their unique artistic practices, but also their experimental gestures that consistently test the form and frame of art. The three Thai artists’ profiles are RIRKRIT TIRAVANIJA (b.1961), ARIN RUNGJANG (b. 1975) and KAWITA VATANJYANKUR (b. 1987). Through the trajectory they might form, art lovers could understand how the dialogue between the western and eastern ideologies manifest and enrich the context of their work, allowing them to attain a broader aesthetic spectrum and to form conversations about the future of contemporary art in Thailand.
(This page is intentionally left blank (2019) as Autopoietic Form) This page is intentionally left blank (2019) โดย คุณ ปรัชญา พิณทอง เป็นอีกหนึ่งนิทรรศการที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างสูงและเพิ่งสิ้นสุดลงไปเมื่อวันที่ 27 มกราคม ผู้เขียนคาดว่าผู้อ่านหลายๆท่านคงจะได้อ่านบทวิเคราะห์มากอยู่บ้างแล้วเกี่ยวกับผลงานชิ้นนี้ ในทัศนะของผู้เขียน บทวิเคราะห์เหล่านั้นมักเจาะจงไปที่ “สาร” หรือชุดความคิดบางอย่างที่ตัว “สื่อ” กระตุ้นและนำพาพวกเขาเหล่านั้นไป อย่างไรก็ตามบทความนี้ผู้เขียนต้องการวิเคราะห์ในมุมอื่น นั่นคือลักษณะเชิง “ภววิทยา” (ontology) ของผลงานชิ้นนี้ ผู้เขียนคาดว่าผู้อ่านที่สนใจเรื่องทฤษฏีคงจะสนุกกับมันอยู่บ้าง
ปรากฏการณ์การแพร่กระจายของเทศกาลศิลปะ biennale ได้เข้มข้นขึ้นและกระจายไปอยู่ทั่วทุกมุมโลกโดยเฉพาะในช่วงทศวรรตที่ผ่านมา ในแต่ละปีนั้นมีการจัดงาน biennale ขึ้นมากมายในหลายๆประเทศ ในปี 2018 หากนับเพียงเทศกาลที่จัดขึ้นในลักษณะที่เป็นทางการแล้วมีถึง 10 เทศกาลทั่วโลก และในปี 2019 จะมีเทศกาลที่เปิดเพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวนกว่า 24 เทศกาล การเติบโตของวัฒนธรรม biennale จึงเป็นประเด็นที่สำคัญเพราะเทศกาลศิลปะเหล่านี้มีบทบาทเป็นอย่างมากในการทำหน้าที่เป็นหน้าฉากและตัวเชื่อมระหว่างโลกศิลปะกับพื้นที่สาธารณะ
ติดตามการย้อนมองปี 2018 แบบรวม.ฮิตเดือนธันวาคม ว่ามีเหตุการณ์สำคัญอะไรเกิดขึ้นบ้างในแวดวงศิลปะเชียงใหม่จากข่าวสารทั่วโลก ที่เราคัดกรองจากคลังข้อมูลของ CAC #LOOKBACK2018
ติดตามการย้อนมองปี 2018 แบบรวม.ฮิตเดือนพฤศจิกายน ว่ามีเหตุการณ์สำคัญอะไรเกิดขึ้นบ้างในแวดวงศิลปะเชียงใหม่จากข่าวสารทั่วโลก ที่เราคัดกรองจากคลังข้อมูลของ CAC #LOOKBACK2018
ติดตามการย้อนมองปี 2018 แบบรวม.ฮิตเดือนตุลาคม ว่ามีเหตุการณ์สำคัญอะไรเกิดขึ้นบ้างในแวดวงศิลปะเชียงใหม่จากข่าวสารทั่วโลก ที่เราคัดกรองจากคลังข้อมูลของ CAC #LOOKBACK2018